ความสำเร็จของเกาหลีไม่ใช่เรื่องบังเอิญ – แต่ใช้เวลาสร้างกว่า 40 ปี!

เราเห็นเกาหลียิ่งใหญ่ในทางวัฒนธรรม ส่งออก Soft Power ต่างๆ มากมาย บางคนคิดว่านี่เป็นเรื่องที่สร้างขึ้นง่ายๆ แต่ที่จริงแล้วไม่เลย – เพราะนี่คือสิ่งที่เกาหลีฟูมฟักมากว่า 40 ปี!

Read More…

ความสัมพันธ์ในบึงวอลเดน: ใครคือ Mentor ของเฮนรี่ เดวิด ธอโร

คนชอบคิดว่า เฮนรี่ เดวิด ธอโร ผู้เขียนหนังสือ ‘วอลเดน’ เป็นคนโดดเดี่ยวที่ดุ่มเดินไปในความเปลี่ยวของป่า

แต่ที่จริงแล้วเขามีเพื่อน และมีเพื่อนที่เป็น Mentor หรือพี่เลี้ยงทางความคิดด้วย

คนคนนั้นคือใคร?

Read More…

Squid Game กับประวัติศาสตร์อันยาวนานของการสร้างความรู้สู่เศรษฐกิจ

หลายคนคิดว่า ความโด่งดังของ Squid Game เป็นเรื่องที่เลียนแบบกันไม่ได้ บางคนบอกว่านี่คือโชคชะตาแบบหนึ่งที่คาดเดาไม่ได้หรอกว่าจะเกิดขึ้น แต่อีกหลายคนก็แย้งว่ามันไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ทว่าเป็นผลพวงจากการ ‘สร้างสม’ อันยาวนานต่างหากเล่า

Read More…

คุณค่าที่แทัจริงของสวนในเมือง: เมื่อความรู้อยู่ในสวน

แต่ในปัจจุบันนี้ คำว่า ‘สวนในเมือง’ ไม่ได้มีคุณค่าแค่สองเรื่อง คือเอาไว้วิ่งออกกำลังกายและเดินดูดอกไม้ใบหญ้าเท่านั้น แต่มุมมองใหม่ก็คือ การใช้สวนให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนในเรื่องอื่นๆ ที่กว้างขวางขึ้นด้วย

Read More…

ปรากฏการณ์ Brainy Books: อ่านเพื่อความรู้

เทรนด์ Brainy Books สอดรับกับคนยุคใหม่ที่ต้องการทักษะหลายๆ อย่าง ทักษะไม่ได้ได้มาง่ายๆ แต่ต้องเกิดขึ้นผ่าน Inputs ใหม่ๆ ดังนั้น ผู้คนจึงต้องแสวงหาเพื่อเติมเต็มความรู้หลากหลายด้านให้ตัวเอง

Read More…

เมื่อชาวมิลเลนเนียลส์ต้องการพื้นที่แห่งความรู้

งานวิจัยของ Pew Research Center  ที่สำรวจชาวมิลเลนเนียลส์อเมริกัน บอกไว้ว่ามนุษย์มิลเลนเนียลส์นี่แหละ ที่จะเป็นมนุษย์รุ่นที่ ‘มีการศึกษา’ มากที่สุดในประวัติศาสตร์อเมริกัน 

ที่สำคัญไปกว่านั้นก็คือ คนรุ่นนี้จะเป็นผู้ขับเคลื่อนสิ่งที่เรียกว่า Knowledge-Based Economy ซึ่งน่าจะแปลเป็นไทยได้แบบเครียดๆ นิดหน่อยว่า ‘ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้’

พวกเขา07’ต้องการ ‘สถานที่’ สำหรับการเรียนรู้ แต่คำถามก็คือ – ทุกวันนี้มีสถานที่ให้ชาวมิลเลนเนียลส์เสพ ‘ความรู้’ กันหรือเปล่า?

Read More…

รู้จักกับ ‘เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม’ – ศาสตร์ที่กำลังมาแรง

หลังจาก ริชาร์ด ธาเลอร์ (Richard Thaler) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ดูเหมือนคำว่า ‘เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม’ จะกลายเป็นคำที่ฮิตติดตลาดขึ้นมา

หลายคนคิดว่า ‘เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม’ (Behavioral Economics) เป็นศาสตร์ใหม่ที่เพิ่งแพร่หลายไม่นานมานี้ แต่จริงๆ แล้ว ถ้าย้อนกลับไปในปี 2002 เคยมีนักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมได้รับรางวัลโนเบลมาก่อนหน้าธาเลอร์นะครับ เขาคนนั้นก็คือ แดเนียล คาห์นีมาน (Daniel Kahneman)

ไปดูกันว่า ‘เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม’ เขาศึกษาอะไรกันแน่?

Read More…

ถ้าต้องเลือกระหว่าง บทความดีๆกับวรรณกรรมดีๆ จะเลือกอะไร

ถ้าตลอดชีวิต ต้องเลือกระหว่าง บทความดีๆกับวรรณกรรมดีๆ ต้องเลือกอย่างใดอย่างนึง คุณจะเลือกอะไรคะ ขอเหตุผลด้วยค่ะ

Read More…