Science of Binge Watching: ถ้าช่วงหยุดยาวทำให้คุณอยากดูซีรีส์ไม่หยุดละก็ ควรอ่านบทความนี้เสียก่อน

ช่วงหยุดยาวอย่างปีใหม่ หลายคนตั้งใจจะ Binge Watch หรือนอนดูซีรีส์ยาวๆ อยู่บ้านทีละสิบยี่สิบตอนกันไปเลย

ไปดูกันว่าการ Binge Watching มันมีข้อดีข้อเสียอะไร และทำไมเราถึงหยุดดูไม่ได้!

Read More…

จากสมุนไพรถึงการเจาะกะโหลก: การแพทย์ยุคโบราณ

มนุษย์มีวิธีรักษาตัวให้อยู่รอดปลอดภัยจากโรคภัยและอาการบาดเจ็บต่างๆ มานานแล้ว

หลายคนอาจนึกถึงการใช้สมุนไพรรักษาตัว แต่เชื่อไหมว่านอกจากสมุนไพรแล้ว ยังมีหลักฐานว่ามนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์เคย ‘ผ่าตัดสมอง’ ด้วย

Read More…

Why are we angry? วิทยาศาสตร์ของความหัวร้อน 

คุณเคยสงสัยไหมครับ ว่าทำอะไรทำให้เราเกิดอาการ ‘หัวร้อน’ ขึ้นมาได้?

ถ้าคุณถามใครสักคนว่าทำไมเขาถึงโกรธ คุณอาจได้รับคำตอบประเภท

“ก็มันมาด่าฉันก่อน” “ก็มันมาจอดรถขวาง” “ก็มันมาแกล้งฉัน” “ก็มันไม่ยอมทำตามคำสั่ง ฉันเป็นเจ้านายมันนะ” “ก็มันบิดเบือนความจริง” “ก็มันหมิ่นประมาทฉัน” ฯลฯ

เราพบว่ามี ‘คำอธิบาย’ ให้กับอาการหัวร้อน หัวฟัดหัวเหวี่ยง หรืออาการโกรธต่างๆ นานา เหล่านี้ได้หลากแบบ แต่ส่วนใหญ่เป็นคำอธิบายที่บอกถึงเหตุผลทางสังคมมากกว่า คำถามก็คือ แล้วในทางวิทยาศาสตร์ล่ะ มีคนมอง ‘ความโกรธ’ อย่างไรบ้าง มันมาจากไหน มีจุดกำเนิดที่ไหน

Read More…

A Bug’s Brain แมลงมีสมองหรือเปล่า

เกณฑ์หนึ่งที่คาร์ล ลินเนียส ใช้จำแนกสัตว์ในกลุ่มแมลงหรือ Insecta ก็คือ สัตว์กลุ่มนี้ไม่มีสมอง

กอมเต เดอ บูฟอง (Comte de Buffon) นักธรรมชาติวิทยาฝรั่งเศสในยุคศตวรรษที่ 18 เคยเขียนถึงแมลงหลายชนิดว่า ถ้าถูกตัดหัวออก มันก็จะยังมีชีวิต วิ่ง บิน หรือแม้แต่มีเซ็กซ์ได้เหมือนปกติ แมลงวันทอง (Drosophila Flies) ถึงกับมีชีวิตอยู่ได้อีกตั้งหลายวันอย่างปกติธรรมดาที่สุด ทั้งที่ไม่มีหัว และตั๊กแตน (Mantis) เวลาถูกตัดหัวออก มันจะแสดงอาการอยากสืบพันธุ์ด้วยการเต้นรำแบบเกี้ยวพานด้วยซ้ำ

แต่แมลงไม่มีสมองจริงหรือ?

Read More…

หมากับแมว ใครฉลาดกว่ากัน

หมาและแมวไม่เคยรู้เรื่องด้วย ว่าพวกมันได้กลายเป็นหัวข้อถกเถียงของมนุษย์ตลอดมา ว่าระหว่างหมากับแมว ใครมีสติปัญญาฉลาดเฉลียวมากกว่ากัน

Read More…

ก้อนสมองของเราทั้งก้อน – คือความทรงจำ

นักวิทยาศาสตร์บอกว่า การจะให้นิยาม ‘ความทรงจำ’ นั้น เป็นเรื่องที่ยากพอๆ กับการให้นิยามคำว่า ‘เวลา’ เลยทีเดียว ทั้งนี้ก็เพราะความทรงจำคือส่ิงที่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา
ความทรงจำไม่ใช่เสื้อทั้งตัวที่ถูกพับเก็บเอาไว้ แต่ความทรงจำ ‘กระทำ’ กับเสื้อตัวนั้นราวกับเครื่องสับ มัน ‘ทำลาย’ เสื้อตัวนั้นจนยับเยินกลายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย แล้ว ‘ฝัง’ เศษเสี้ยวของเสื้อตัวนั้นเอาไว้ตามที่ต่างๆ ในสมองของเรา

Read More…